ความหมายตามราชบัณฑิตสถาน บัญญัติไว้ 2 คํา คือ สาขาวรรณกรรม หมายถึง “การโจรกรรมทางวรรณกรรม” สาขานิติศาสตร์ หมายถึง “การลอกเลียนวรรณกรรม”
ความหมายตามราชบัณฑิตสถาน บัญญัติไว้ 2 คํา คือ สาขาวรรณกรรม หมายถึง “การโจรกรรมทางวรรณกรรม” สาขานิติศาสตร์ หมายถึง “การลอกเลียนวรรณกรรม”
ประเภทของการ Plagiarism
- ชนิดไม่มีการอ้างอิงแหล่งทีมาของข้อมูล
1.1นักเขียนเงา (Ghost Writer) ผู้เขียนจะคัดลอกผลงานของผู้อื่นชนิด ต่อคํา ประโยคต่อประโยค โดยไม่ได้มีการดัดแปลงหรือแก้ไขส่วนหนึง ส่วนใดให้แตกต่างจากต้นฉบับ และแอบอ้างว่าเป็นผลงาน ของตนเอง
1.2 นักคัดลอก หมายถึง ผู้เขียนจะคัดลอกเฉพาะบางส่วนทีเป็นสาระ สําคัญจากแหล่งข้อมูลเดียว โดยมิได้มีการแก้ไขเปลียนแปลงถ้อยคํา ของต้นฉบับเดิม
1.3 นักผสม/รวมมิตร นักเขียนพยายามหลีกเลียงการโจรกรรม วรรณกรรมด้วยการคัดลอกข้อมูลมาจากหลายๆแหล่งทีแตกต่างกัน จากนันปรับแต่งประโยคให้สอดคล้อง ไม่สะดุด แต่ยังอิงตามถ้อยคํา ต้นฉบับไว้มากทีสุด
1.4 ปลอมแปลงไม่แนบเนียน ผู้เขียนยังคงคัดลอกในส่วนทีสําคัญของ ต้นฉบับอยู่ แต่ได้แก้ไขคีย์เวิร์ดหรือถ้อยคํา เพือทําให้งานของตัวเอง ดูแตกต่างบ้างจากต้นฉบับ
1.5 ผู้เขียนใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลสาระสําคัญจากแหล่งต่างๆมา เขียนใหม่ในสํานวนการเขียนของตัวเอง โดยไม่ได้คิดหรือสร้างสรรค์ ผลงานด้วยตนเอง
1.6 ผู้เขียนนําส่วนใดส่วนหนึงหรือทั้งหมดของผลงานตนเองทีเคยตีพิมพ์ แล้วกลับมาทําเป็นผลงานชินใหม่อีกครัง
2. ชนิดมีการอ้างอิง แต่ยังถือว่า plagiarism
2.1 ลืม footnote ผู้เขียนมีการอ้างอิงชือผู้แต่ง แต่ละเลยทีจะแจ้งข้อมูล บรรณานุกรมทีสําคัญในการอ้างอิงทีบอกถึงแหล่งข้อมูลอ้างอิงนัน
2.2 ผู้เขียนให้ข้อมูลแหล่งอ้างอิงไม่ชัดเจน เจตนาทีจะทําให้การค้นหา แหล่งข้อมูลนันทําได้ยาก
2.3 ไม่ใส่เครืองหมายคําพูดในถ้อยคําหรือข้อความทีคัดลอกมาจากผล งานผู้อืนชนิดคําต่อคํา หรือเหมือนต้นฉบับทุกถ้อยคํา
2.4 ผู้เขียนมีการอ้างอิงทุกแหล่งข้อมูลทีใช้ เขียนด้วยสํานวนของตัวเอง และใส่เครืองหมายคําพูดในข้อความที่ยกมา แต่ผลงานชิ้นนันเกือบทังหมด ไม่ได้เป็นงานทีสร้างสรรค์ขึนมาใหม่เลย
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร jirawat@book.co.th แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ทางารศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชัน แอนด์ เซอร์วิส จํากัด
แหล่งที่มา https://drive.google.com/file/d/14UJzjLOi5EXbb-wvU6W5vxKoTi1d9u-3/view?usp=sharing