
หมวดที่ 8 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย
หัวข้อ | เกณฑ์การดำเนินงาน | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
---|---|---|---|
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน | |||
(1) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ รถยนต์ ปั๊มดูดน้ำ ปั๊มดับเพลิง เครื่องถ่ายเอกสารเครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปู พื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน) | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (2) แบบฟอร์ม 5.1 (1) แผนการบำรุงรักษาประจำปี หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | สำนักหอสมุดมีการกำหนดแผนการดูแลบำรุงรักษาอุปกรณ์ประจำปี โดยมีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา และรายงานผลการตรวจสอบ | 5.1.1(1) แผนการบำรุงรักษาประจำปี |
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (2) แบบฟอร์ม 5.1 (1) แผนการบำรุงรักษาประจำปี หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | ||
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ 1 | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (3) หลักฐานแสดงถึงการดูแลรักษา เช่น บันทึกการล้างเครื่องปรับอากาศทั้งจาก หน่วยงานภายในหรือหน่วยงานภายนอก บันทึกการซ่อมบำรุงเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) | เอกสารข้อมูลการล้างเครื่องปรับอากาศ 5.1.1(3) หลักฐานการดูแลบำรุงรักษา | |
(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศและใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพจากการปฏิบัติในข้อ 1 | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) – (8) สัมภาษณ์และสำรวจถึงการควบคุมมลพิษจากแหล่งต่างๆ | รณรงค์ประหยัดพลังงาน ปิดไม่เมื่อไม่ใช้ ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟต์ 5.1.1(4) ควบคมุมลพษิทางอากาศและใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ หลอดประหยัดไฟ เปลี่ยนหลอดเมื่อชำรุด วางแผน | |
(5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสารเครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) – (8) สัมภาษณ์และสำรวจถึงการควบคุมมลพิษจากแหล่งต่างๆ | มีการจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสารเครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน | การจัดวางเครื่องปรินท์เตอร์ เครื่องถ่ายเอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการ.pdf |
(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับ เครื่องยนต์ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) – (8) สัมภาษณ์และสำรวจถึงการควบคุมมลพิษจากแหล่งต่างๆ | มีการควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน โดยการ ติดป้ายดับเครื่องยนต์ | 5.1.1(6) ติดป้ายดับเครื่องยนต์ |
(7) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยา กำจัดแมลง (ถ้ามี) | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) – (8) สัมภาษณ์และสำรวจถึงการควบคุมมลพิษจากแหล่งต่างๆ | การพ่นยากำจัดแมลงมีการแจ้งพื้นที่การพ่นยากำจัดแมลงก่อนการดำเนินการ และดำเนินการพ่นในวันหยุด | แจ้งพื้นที่การพ่นยากำจัดแมลงก่อนการดำเนินการ5.1.1(7) ป้องกันอันตรายจากการพ่นยา.pdf |
(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรม ต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่ายเป็นหลักฐานประกอบ) | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) – (8) สัมภาษณ์และสำรวจถึงการควบคุมมลพิษจากแหล่งต่างๆ | มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย | มาคราการโควิด https://library.kku.ac.th/466/ |
5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสม และปฏิบัติตามที่กำหนด | |||
(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) เช่น โปสเตอร์ หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เลิกสูบบุหรี่ | มีการมีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่ ด้วยการรณรงค์ผ่านช่องทาง Social Media ของสำนักหอสมุด | รณรงค์การไม่สูบบุหรี่ https://www.facebook.com/KKULib/posts/pfbid0AYnD727DqwFXrcQsFRWdTCrvyogjKzX9b2Vy2c77YL4JJdQVw2hy17qCdUAp2qCQl |
(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (2) – (3) ตรวจสอบความถูกต้องของสัญลักษณ์ตามกฎหมาย | มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่รอบอาคาร | 5.2.1(2) ติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ |
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (2) – (3) ตรวจสอบความถูกต้องของสัญลักษณ์ตามกฎหมาย | บริเวณมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเขตปลอดบุหรี่ทั้งหมด ไม่มีเขตสูบบุหรี่ | มข ไม่มีเขตสูบบุหรี่ |
(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) สำรวจสำนักงานถึงพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่และพื้นที่สูบบุหรี่ | ||
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (5) สำรวจร่องรอยการสูบบุหรี่ | ||
5.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรือ อื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน | |||
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร | หลักฐานอ้างอิงข้อ (1) มาตรการรองรับการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง | เมื่อมีการปรับปรุงอาคารสถานที่ จะทำการแจ้งงดใช้อาคารและสถานที่ดังกล่าว รวมถึงบอกถึงผลกระทบต่อการก่อสร้าง | https://www.facebook.com/KKULib/posts/pfbid0sL3k6p7zEcqrV8tkRZ4HF3GggfR5VVqNKHV8RhPW6ZULoGU8Srn9yigTdmba3Nnal |
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้ – มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน – มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง – มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย | หลักฐานอ้างอิงข้อ (2) สำรวจการควบคุมมลพิษทางอากาศบริเวณพื้นที่ที่มีการก่อสร้าง (ถ้ามี) | ||
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด | |||
(1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างเฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน | (1) หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) รายงานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง | มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี | 5.2.1(1) ตรวจวัดความเข้มของแสง |
(2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่าง จะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง) | (2) หลักฐานอ้างอิง ข้อ (2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องได้มาตรฐาน และมีใบรับรองการสอบ เทียบเครื่องมือ หมายเหตุ ห้ามนำโปรแกรมในมือถือมาใช้ในการวัดความเข้มของแสงสว่าง | ยังไม่ได้รับข้อมูลเครื่องวัดความเข้มแสง | |
(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด | (3) หลักฐานอ้างอิง ข้อ (3) รายงานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง หากพบว่าแสงสว่างไม่ผ่าน ตามที่กฎหมายกำหนดสามารถใช้แบบฟอร์ม 1.7 (1) ใบขอให้แก้ไขและป้องกันข้อบกพร่อง เพื่อวาง แผนการแก้ไข | ||
(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด | (4) หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) ตรวจสอบผู้ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามกฎหมายที่ อนุญาต | ยังไม่ได้รับข้อมูลผู้ตรวจวัดความเข้มแสง | |
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน | |||
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน | การเดินสำรวจสำนักงานถึงแหล่งกำเนิดเสียงและการควบคุม | มีการกำหนดและปฏิบัติตามมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน | 5.3.1(1) จัดการเสียงดังในสำนักงาน |
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจาก ภายในสำนักงาน | การเดินสำรวจสำนักงานถึงแหล่งกำเนิดเสียงและการควบคุม | ||
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน | |||
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร | 1. หลักฐานอ้างอิงข้อ (1) มาตรการรองรับการควบคุมมลพิษทางเสียงจากการก่อสร้าง | มีการแจ้งผู้ใช้งานเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร | มีการแจ้งผู้ใช้งาน https://www.facebook.com/KKULib/posts/pfbid0TUTuuyk8tE7aWkiVzReS8jPSh7kBhB2cSPMUpduMvEzCoLUrxAU3My6UV14N43itl และให้เจ้าหน้าที่ที่ทำการก่อสร้าง ทำงานในเขตที่ระบุไว้ใน TOR |
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้ – มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน – มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย | 2. หลักฐานอ้างอิงข้อ (2) สำรวจการควบคุมมลพิษทางเสียงบริเวณพื้นที่ที่มีการก่อสร้าง (ถ้ามี) | ||
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้ | |||
(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรือ อื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (4) แบบฟอร์ม 5.4 (1) แผนการดูแลพื้นที่ของสำนักงานประจำปีหรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น พร้อมเดินสำรวจพื้นที่เพื่อดูถึงการบ่งชี้การใช้ประโยชน์ และสัมภาษณ์ความเข้าใจของผู้รับผิดชอบตามพื้นที่ต่างๆ | มีการจัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยกำหนดพื้นที่และแบ่งสัดส่วนในการใช้งานอย่างชัดเจน | แผนผัง และการกำหนดพื้นที่ใช้งาน https://www.canva.com/design/DAGOXIuL_6s/5OVPlgvBnVDVAyrevOu24Q/edit?utm_content=DAGOXIuL_6s&utm_campaign=designshare&utm_medium=link2&utm_source=sharebutton |
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะ และ พื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (4) แบบฟอร์ม 5.4 (1) แผนการดูแลพื้นที่ของสำนักงานประจำปีหรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น พร้อมเดินสำรวจพื้นที่เพื่อดูถึงการบ่งชี้การใช้ประโยชน์ และสัมภาษณ์ความเข้าใจของผู้รับผิดชอบตามพื้นที่ต่างๆ | มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร | 5.4.1(2) ผู้มีหน้าที่ในการดูแลรักษาความสะอาด |
(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (4) แบบฟอร์ม 5.4 (1) แผนการดูแลพื้นที่ของสำนักงานประจำปีหรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น พร้อมเดินสำรวจพื้นที่เพื่อดูถึงการบ่งชี้การใช้ประโยชน์ และสัมภาษณ์ความเข้าใจของผู้รับผิดชอบตามพื้นที่ต่างๆ | ||
(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (4) แบบฟอร์ม 5.4 (1) แผนการดูแลพื้นที่ของสำนักงานประจำปีหรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น พร้อมเดินสำรวจพื้นที่เพื่อดูถึงการบ่งชี้การใช้ประโยชน์ และสัมภาษณ์ความเข้าใจของผู้รับผิดชอบตามพื้นที่ต่างๆ | มีการกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน | |
5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด | ผลสำรวจพื้นที่ตามที่กำหนดวัตถุประสงค์การใช้สอย | xxx | |
5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อน หย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น | ผลการสำรวจพื้นที่โดยพื้นที่เหล่านั้นจะต้องมีความสะอาดและเป็นระเบียบ พื้นที่สีเขียวได้รับการดูแล | มาตรฐานการปฏิบัติงานแม่บ้าน.docx | |
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด | |||
(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ | 1. หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1), (2), (4) แบบฟอร์ม 5.4 (2) แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | มีการกำหนดแนวทางการป้องกันและจัดการสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงาน มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างเหมาะสม | 5.4.4(1) แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำเชื้อ.xls กำจัดหนู ยุง ปลวก.pdf เพิ่มสัตว์งู |
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง | 1. หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1), (2), (4) แบบฟอร์ม 5.4 (2) แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | ||
(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน) | 2. หลักฐานอ้างอิง ข้อ (3) แบบฟอร์ม 5.4 (3) บันทึกผลการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค หรือ แบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น หมายเหตุ จะต้องมีการสำรวจพื้นที่และสัมภาษณ์ถึงความเข้าใจผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมด้วย | ||
(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการ เมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค | 1. หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1), (2), (4) แบบฟอร์ม 5.4 (2) แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | ||
(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน หมายเหตุ การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน | |||
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด | |||
(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) แบบฟอร์ม 2.1 (1) หลักสูตรและแผนการฝึกอบรมประจำปี หรือหลักฐานที่แสดง การกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟหรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | สำนักหอสมุดมีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ ปีละ 1 ครั้ง | แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย66.pdf แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย67.pdf |
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (2), (4) รายงานการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น (ดพ.1) ภาพถ่าย | พี่ประสิทธิ์ยังไม่สรุปจำนวนผู้ที่เข้าอบรม | |
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มีการฝึกซ้อมเท่านั้น) | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (3), (5) รายงานการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ (ดพ.2) ภาพถ่าย | ||
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (2), (4) รายงานการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น (ดพ.1) ภาพถ่าย | พนักงานของสำนักหอสมุดมีการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อบรมดับเพลิงขั้นต้น และฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด | 5.5.1(4,5) รูปอบรมหนีไฟ |
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (3), (5) รายงานการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ (ดพ.2) ภาพถ่าย | ||
(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (6) จุดรวมพลจะต้องสามารถรองรับพนักงานได้ และจะต้องไม่นำจุดรวมพลไปใช้ ประโยชน์ในด้านอื่น เช่น จอดรถ หรือวางของ เป็นต้น | มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน | 5.5.1(6) รูปจุดรวมพล |
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (7) แบบฟอร์ม 5.5 (1) แผนฉุกเฉิน เส้นทางหนีไฟจะต้องอ่านง่าย และเป็นปัจจุบัน หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น | มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน | 5.5.1(7) กำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟ |
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (8) สำรวจพื้นที่ | 5.5.1(8) กำหนดทางออกฉุกเฉิน มีป้ายชัดเจน | |
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) | ตรวจสอบแผนระงับเหตุฉุกเฉิน และสุ่มสัมภาษณ์พนักงานตามโครงสร้างหน้าที่รับผิดชอบกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน | ||
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) | |||
(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง – ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่างอย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับจากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้น จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง – ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี) – สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด ( Hose and Hose Station) (ถ้ามี) | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (2) สำรวจดูการติดตั้งโดยอ้างอิงตามกฎหมาย | ตามรายละเอียดงบประมาณจากพี่ปอ | รายละเอียดอยู่ในเอกสารแผนป้องกันอัคคีภัย |
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน – สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป) – ติดตั้งตัวดักจับควัน ( smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector) | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (1) – (2) สำรวจดูการติดตั้งโดยอ้างอิงตามกฎหมาย | รายละเอียดอยู่ในเอกสารแผนป้องกันอัคคีภัย | |
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) – (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (3) แบบฟอร์ม 5.5 (2) ใบตรวจสอบถังดับเพลิง หรือใบตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิง อื่นๆ ที่สำนักงานมีไว้หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้นหากอุปกรณ์เกิดชำรุด กรณีที่ 1 จะต้องแสดงหลักฐานให้เห็นว่าตอนนี้อยู่ในระหว่างการแก้ไข จะถือว่าได้คะแนน กรณีที่ 2 ไม่มีการแสดงหลักฐานว่าอยู่ในระหว่างการแก้ไข จะถือว่าไม่ได้คะแนน | มีการตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและระบบสัญญาณแจ้งเตือน | 5.5.3(3) ตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิง และระบบแจ้งเตือน |
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (4) สัมภาษณ์พนักงาน | ||
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ | หลักฐานอ้างอิง ข้อ (5) สำรวจพื้นที่จุดที่จัดเก็บและติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ | ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ | 5.5.3(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง |
Views: 14