ความหมายตามราชบัณฑิตสถาน บัญญัติไว้ 2 คํา คือ สาขาวรรณกรรม หมายถึง “การโจรกรรมทางวรรณกรรม” สาขานิติศาสตร์  หมายถึง “การลอกเลียนวรรณกรรม”

ความหมายตามราชบัณฑิตสถาน บัญญัติไว้ 2 คํา คือ สาขาวรรณกรรม หมายถึง “การโจรกรรมทางวรรณกรรม” สาขานิติศาสตร์  หมายถึง “การลอกเลียนวรรณกรรม”

ประเภทของการ Plagiarism 

  1. ชนิดไม่มีการอ้างอิงแหล่งทีมาของข้อมูล

1.1นักเขียนเงา (Ghost Writer) ผู้เขียนจะคัดลอกผลงานของผู้อื่นชนิด ต่อคํา ประโยคต่อประโยค โดยไม่ได้มีการดัดแปลงหรือแก้ไขส่วนหนึง ส่วนใดให้แตกต่างจากต้นฉบับ และแอบอ้างว่าเป็นผลงาน ของตนเอง 

1.2 นักคัดลอก หมายถึง ผู้เขียนจะคัดลอกเฉพาะบางส่วนทีเป็นสาระ สําคัญจากแหล่งข้อมูลเดียว โดยมิได้มีการแก้ไขเปลียนแปลงถ้อยคํา ของต้นฉบับเดิม 

1.3 นักผสม/รวมมิตร นักเขียนพยายามหลีกเลียงการโจรกรรม วรรณกรรมด้วยการคัดลอกข้อมูลมาจากหลายๆแหล่งทีแตกต่างกัน จากนันปรับแต่งประโยคให้สอดคล้อง ไม่สะดุด แต่ยังอิงตามถ้อยคํา ต้นฉบับไว้มากทีสุด

1.4 ปลอมแปลงไม่แนบเนียน ผู้เขียนยังคงคัดลอกในส่วนทีสําคัญของ ต้นฉบับอยู่ แต่ได้แก้ไขคีย์เวิร์ดหรือถ้อยคํา เพือทําให้งานของตัวเอง ดูแตกต่างบ้างจากต้นฉบับ 

1.5 ผู้เขียนใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลสาระสําคัญจากแหล่งต่างๆมา เขียนใหม่ในสํานวนการเขียนของตัวเอง โดยไม่ได้คิดหรือสร้างสรรค์ ผลงานด้วยตนเอง 

1.6 ผู้เขียนนําส่วนใดส่วนหนึงหรือทั้งหมดของผลงานตนเองทีเคยตีพิมพ์ แล้วกลับมาทําเป็นผลงานชินใหม่อีกครัง

2. ชนิดมีการอ้างอิง แต่ยังถือว่า plagiarism

2.1 ลืม footnote ผู้เขียนมีการอ้างอิงชือผู้แต่ง แต่ละเลยทีจะแจ้งข้อมูล บรรณานุกรมทีสําคัญในการอ้างอิงทีบอกถึงแหล่งข้อมูลอ้างอิงนัน 

2.2 ผู้เขียนให้ข้อมูลแหล่งอ้างอิงไม่ชัดเจน เจตนาทีจะทําให้การค้นหา แหล่งข้อมูลนันทําได้ยาก

2.3 ไม่ใส่เครืองหมายคําพูดในถ้อยคําหรือข้อความทีคัดลอกมาจากผล งานผู้อืนชนิดคําต่อคํา หรือเหมือนต้นฉบับทุกถ้อยคํา 

2.4 ผู้เขียนมีการอ้างอิงทุกแหล่งข้อมูลทีใช้ เขียนด้วยสํานวนของตัวเอง และใส่เครืองหมายคําพูดในข้อความที่ยกมา แต่ผลงานชิ้นนันเกือบทังหมด ไม่ได้เป็นงานทีสร้างสรรค์ขึนมาใหม่เลย

โดย  จิรวัฒน์  พรหมพร jirawat@book.co.th แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ทางารศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชัน แอนด์ เซอร์วิส จํากัด

แหล่งที่มา https://drive.google.com/file/d/14UJzjLOi5EXbb-wvU6W5vxKoTi1d9u-3/view?usp=sharing